Commit 613bacbd authored by jadtaphon chinnapan's avatar jadtaphon chinnapan

jadtaphon 30/4/63

parent d1298d4c
......@@ -66,7 +66,7 @@
\subsection{ซอฟต์แวร์ (Software)}
\begin{enumerate}
\item Angular เวอร์ชั่น 8 เป็นเฟรมเวิร์ค (Framework) สำหรับทำหน้าเว็บแสดงผล โดยใช้ JavaScript ในการพัฒนา
\item MongoDB คือฐานข้อมูลแบบไม่มีความสัมพันธ์ของตารางซึ่งมีโครงสร้างแบบ NoSQL (Not Only Structured Query Language) มีรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบ JSON(JavaScript Object Notation)
\item MongoDB คือฐานข้อมูลแบบไม่มีความสัมพันธ์ของตารางซึ่งมีโครงสร้างแบบ NoSQL (Not Only Structured Query Language) มีรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบ JSON (JavaScript Object Notation)
\item Echo Golang เวอร์ชั่น 1.13 ใช้สำหรับทำเว็บเซิฟเวอร์ (Web Server) พัฒนาดัวยภาษา Golang
\item Postman คือเครื่องมือสำหรับช่วยในพัฒนา API (Applocation Programming Interface) ใช้ในการทดสอบการทำงานของ Service รวมถึงจำลอง Service
\item Visual Studio Code คือเครื่องมือแก้ไขและปรับแต่งโค้ดสำหรับพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน
......
......@@ -69,7 +69,7 @@
ภาษาโกถูกออกแบบมาสำหรับการเขียนซอฟต์แวร์ระบบเป็นหลัก มีลักษณะเป็นแบบ statically typed language หมายถึง ชนิดข้อมูลจะถูกกำหนดในช่วงเวลาของการคอมไพล์ โปรแกรม (compile time) มี garbage collection เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของ โปรแกรม มีการสนับสนุนการคอมไพล์โปรแกรมเพื่อนำไปใช้บนแพลตฟอร์มอื่นๆ (cross-compiler) และมีการสนับสนุนการทำงานแบบภาวะพร้อมกัน ที่ถูกออกแบบขึ้นมาตามแนวคิดของ Hoare's Communicating Sequential Processes นอกจากนี้การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาโกนั่นง่ายเพราะบางส่วนของภาษาโกมีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาสคริปต์
\subsection{ชุดคำสั่งในภาษาโก}
คำสั่งในภาษาโก \cite{Go} มีคำสั่งจำนวนมากให้เลือกใช้งานตามความ เหมาะสมแต่ในระบบนี้ขอนำเสนอ 6 คำสั่งได้แก่ คำสั่ง if-else คำสั่ง func คำสั่ง go คำสั่ง var คำสั่ง for และคำสั่ง channel ซึ่งคำสั่งเหล่านี้เพียงพอต่อการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาโก
คำสั่งในภาษาโก มีคำสั่งจำนวนมากให้เลือกใช้งานตามความ เหมาะสมแต่ในระบบนี้ขอนำเสนอ 6 คำสั่งได้แก่ คำสั่ง if-else คำสั่ง func คำสั่ง go คำสั่ง var คำสั่ง for และคำสั่ง channel ซึ่งคำสั่งเหล่านี้เพียงพอต่อการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาโก
\begin{enumerate}[label=2.2.2.\arabic*]
\item คำสั่ง if-else เป็นคำสั่งสำหรับเลือกเส้นทางการทำงานของโปรแกรมตามเงื่อนไขที่ได้
กำหนดไว้ รูปแบบของคำสั่ง if-else แสดงดังภาพที่ 2.2 จากภาพถ้าเงื่อนไข exp เป็นจริง กลุ่มคำสั่ง
......@@ -350,7 +350,7 @@ Say = "Hey "+Name;
\end{enumerate}
\end{itemize}
\subsection{คุณลักษณะของแองกูลาร์}
ในหัวข้อนี้จะขอกล่าวถึงคุณลักษณะของแองกูลาร์เวอร์ชั่น 8 เพราะเป็นเวอร์ชั่นที่ใช้พฒนาระบบนี้
ในหัวข้อนี้จะขอกล่าวถึงคุณลักษณะของแองกูลาร์เวอร์ชั่น 8 เพราะเป็นเวอร์ชั่นที่ใช้พฒนาระบบนี้
\begin{itemize}
\item Angular CLI 8 เปลี่ยนมาใช้ dart-sass แทน node-sass ทำให้การ build ไฟล์ Sass เร็วขึ้นอีกมาก
\item ใน Angular 8 รองรับการใช้งาน compiler (และ runtime) ตัวใหม่ที่ชื่อว่า Ivy ทำให้ประสิทธิภาพของโปรเจค Angular เราดีขึ้นมาก
......@@ -391,17 +391,17 @@ ng new project –enable-ivy
\section{เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง}
กล่าวถึงเอกสาร งานวิจัย หรือระบบงานที่คล้ายกัน โดยแต่ละหัวข้อให้อธิบายความสำคัญ ฟังก์ชันการทำงาน ข้อดี และข้อเสีย ดังต่อไปนี้
\subsection{เว็บไซต์ Plickers}
Plickers \cite{plickers} เป็นเว็บที่ให้บริการอาจารย์สำหรับจัดการเรียนการสอน ซึ่งภายในเว็บจะสามารถสร้างชั้นเรียนได้ โดยอาจารย์เป็นคนเพิ่มนักศึกษาภายในชั้นเรียนเข้าระบบ และสามารถเช็คชื่อนักศึกษาได้ โดยการสแกนคิวอาร์โค้ดของนักศึกษาที่ได้มาจากระบบ อีกทั้งยังสามารถสร้างแบบฝึกหัดภายในชั้นเรียนได้ ดังแสดงในรูป 2.14
Plickers \cite{plickers} เป็นเว็บที่ให้บริการอาจารย์สำหรับจัดการเรียนการสอน ซึ่งภายในเว็บจะสามารถสร้างชั้นเรียนได้ โดยอาจารย์เป็นคนเพิ่มนักศึกษาภายในชั้นเรียนเข้าระบบ และสามารถเช็คชื่อนักศึกษาได้โดยใช้คิวอาร์โค้ดที่ระบบสร้างมาให้นักศึกษาแต่ละคน อีกทั้งยังสามารถสร้างแบบฝึกหัดภายในชั้นเรียนได้ รูป 2.14 แสดงหน้าหลักในการใช้งานระบบ
โดยคิวอาร์โค้ดนั้นจะมีกระดาษเป็นคิวอาร์โค้ดให้นักศึกษาทุกคนถือ ซึ่งกระดาษคิวอาร์โค้ดจะมีด้านที่แตกต่างกัน 4 ด้าน โดยแต่ละด้านจะมีตัวเลขเฉพาะของนักศึกษาแต่ละคนอยู่ที่มุมกระดาษดังรูป 2.15 ซึ่งคิวอาร์โค้ดที่นักศึกษาได้นั่นจะนำมาใช้ในการเช็คชื่อมาเรียนหรือตอบคำถาม โดยการเช็คชื่ออาจารย์เป็นผู้สแกนคิวอาร์โค้ดของนักศึกษา ส่วนการตอบคำถามให้นักศึกษาพลิกกระดาษโค้ดของตนเองเพื่อเลือกคำตอบ และอาจารย์จะเป็นผู้สแกนคิวอาร์โค้ด
โดยคิวอาร์โค้ดที่ระบบสร้างมานั้นจะมีด้านที่แตกต่างกัน 4 ด้าน โดยแต่ละด้านมีตัวเลขเฉพาะของนักศึกษาแต่ละคนอยู่ที่มุมกระดาษดังรูป 2.15 โดยการเช็คชื่ออาจารย์เป็นผู้สแกนคิวอาร์โค้ดของนักศึกษา
เว็บไซต์ plickers สามารถเข้าไปใช้งานได้ที่ https://get.plickers.com ซึ่งเป็นระบบเปิดให้ใช้งานได้ฟรี
\begin{figure}[H]
\centering
\includegraphics[width=0.8\textwidth]{Figures/2/plickers}
\caption{หน้าแรกของเว็บไซต์ plickers}{ที่มา : https://get.plickers.com}
\caption{หน้าหลักในการใช้งานระบบ plickers}{ที่มา : https://get.plickers.com}
\label{Fig:plickers}
\end{figure}
......@@ -426,7 +426,7 @@ ng new project –enable-ivy
เว็บ smart classroom QR-Code Check-in \cite{smartclassroom} เป็นเว็บที่ให้บริการอาจารย์ในการเช็คชื่อนักศึกษา และเก็บข้อมูลนักศึกษาที่มาเรียนในรูปแบบออนไลน์บนเว็บเบราว์เซอร์
การทำงานของเว็บ smart classroom คือ อาจารย์สามารถสร้างชั้นเรียน และจัดการข้อมูลต่าง ๆ ในชั้นเรียนได้ ซึ่งการเช็คชื่อจะทำได้ โดยอาจารย์เป็นผู้พิมพ์คิวอาร์โค้ดให้นักศึกษาทุกคนในชั้นเรียนถือ แล้วอาจารย์เป็นผู้สแกน
การทำงานของเว็บ smart classroom คือ อาจารย์สามารถสร้างชั้นเรียนในระบบได้ และจัดการข้อมูลต่าง ๆ ในชั้นเรียนได้ ซึ่งการเช็คชื่อจะทำได้ โดยอาจารย์เป็นผู้พิมพ์คิวอาร์โค้ดให้นักศึกษาทุกคนในชั้นเรียนถือ แล้วอาจารย์เป็นผู้สแกน
โดยเว็บ smart classroom QR-Code Check-in สามารถเข้าใช้งานที่ http://www.mse-exam.net ซึ่งระบบเปิดให้ใช้งานได้ฟรี
\begin{figure}[H]
......
\begin{thaiabstract}
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยสร้างเว็บแอปพลิเคชันดัวย Angular เพื่อเช็คชื่อในการเข้าเรียนซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการให้คะแนนเสริมช่วยนักศึกษาและพัฒนานักศึกษาเกี่ยวกับวินัยในการมาเรียนให้ตรงเวลา โดยในเว็บแอปพลิเคชันนี้จะเป็นการจัดการข้อมูลคะแนนการมาเรียนของนักศึกษาซึ่งระบบจะมุ่งเน้นความรวดเร็วในการใช้งานและการเก็บข้อมูล นอกจากนี้ยังมีการนำเทคโนโลยี QR code มาใช้ในระบบ โดยการให้อาจารย์เป็นผู้สร้าง QR code และ ให้นักศึกษาเป็นผู้สแกนซึ่งนักศึกษาเพียงแค่สแกน QR code ของอาจารย์และกรอกรหัสนักศึกษาเพื่อยืนยันตัวตน
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยสร้างเว็บแอปพลิเคชันดัวยแองกิวลา เพื่อเช็คชื่อในการเข้าเรียนซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการให้คะแนนเสริมช่วยนักศึกษา และพัฒนานักศึกษาเกี่ยวกับวินัยในการมาเรียนให้ตรงเวลา โดยในเว็บแอปพลิเคชันนี้จะเป็นการจัดการข้อมูลคะแนนการมาเรียนของนักศึกษาซึ่งระบบจะมุ่งเน้นความรวดเร็วในการใช้งานและการเก็บข้อมูล นอกจากนี้ยังมีการนำเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด มาใช้ในระบบ โดยการให้อาจารย์เป็นผู้สร้างคิวอาร์โค้ด และให้นักศึกษาเป็นผู้สแกนซึ่งนักศึกษาเพียงแค่สแกนคิวอาร์โค้ด ของอาจารย์และกรอกรหัสนักศึกษาเพื่อยืนยันตัวตน
\noindent
\\คำสำคัญ: เว็บแอปพลิเคชัน เช็คชื่อเข้าเรียนด้วยคิวอาร์โค้ด
\end{thaiabstract}
Markdown is supported
0% or
You are about to add 0 people to the discussion. Proceed with caution.
Finish editing this message first!
Please register or to comment